ปวดหัวข้างเดียว

ปวดหัวข้างเดียว หรือปวดหัวแบบอื่น เป็น อะไรกันแน่  รู้ก่อน  แย่ !!!

“โอ๊ย ปวดหัว จัง!!! “ คำ อุทานแบบนี้ เรา ได้ยินกัน บ่อยๆ ใช่ไหม ซึ่ง อาจจะหมายถึง อาการปวดหัว ที่ไม่ได้มีสเหตุทางกาย  เช่น การบ่นกว่าปวดหัว จากสาเหตุที่มีปัญหา วุ่นวาย รุมเร้า จนต้องใช่ สมองคิดแก้ไขปัญหา หลากหลาย ด้าน  เป็นความไม่สบายใจ แต่ เรากลับ สื่อสาร ให้คนรอบข้าง ฟังด้วย คำว่า “ปวดหัว”  

 

หรือเป็นการปวดหัวจริงๆ ที่เป็นอาการทางกาย  ไม่ว่าจะเป็นปวดหัวข้างเดียว ,ปวดขมับ , ปวดต้นคอ  หรือ เพียงแค่ เวียนหัว เราก็ ใช่คำ เรียก รวมๆ กันไปว่า  “ปวดหัว” ด้วยสาเหตุที่คำว่า “ปวดหัว” เป็นคำที่ใช่ แทนทั้ง อาการทางกาย และ ทางจิตใจ เราจึงมักจะไม่ใส่ใจ ละเลย อาการปวดหัว โดย ใช่วิธีแก้ไขปัญหาแบบง่าย ๆ คือ การทานยาแก้ปวด โดยไม่ ใส่ใจ ที่จะ หาต้นสายปลายเหตุที่แท้จริง ของการปวดหัว  กันเลย

 

การทานยาแก้ปวด ทางออก ที่เป็นทางตัน

เมื่อปวดหัว ไม่ว่าจะ ปวดหัวข้างเดียว หรือ สองข้าง หรืออื่นๆ แล้วเรา หยิบยาแก้ปวดมาทาน  ทันทีโดย ไม่รู้สาหตุ ของการปวดหัว นั้น อย่างแท้จริง  อาจจะเป็นผลเสียมากกว่าผลดี เพราะ การทานยาแก้เป็นเพียงการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ช่วยแค่ระงับอาการชั่วคราว เท่านั้น ไม่ช่วยรักษา ป้องกัน หรือ ส่งเสริมสุขภาพ ในระยะยาวแล้ว ยัง มีผลเสีย ต่อสุขภาพ ด้านอื่นๆ  อีกด้วย เช่น 

  1. การได้รับยาเกินขนาด เสี่ยงต่อการตกค้างในร่างกาย 
  2. เกิดการระคายเคือง ต่อกระเพาะอาหาร
  3. เกิดการดื้อยา ต้องทานยา ในปริมาณ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 

ถ้าไม่ใช่ ยาแก้ปวด แล้ว ถ้าเกิดการปวดหัว จะทำอย่างไร  ??

ปัญหาไม่ใช่ที่ยาที่ใช่รักษา แต่เป็นการ หาสาเหตุ ของ อาการปวด เพราะ  การปวดหัวอาจจะเป็นอาการ ของโรค หรือ ความผิดปกติ ของร่างกาย แล้ว ร่างกายส่งสัญญาณ ให้ทราบด้วยการ ปวดหัว วันนี้ สุขภาพดีดี ได้ทำการรวบรวม อาการปวดหัว สาเหตุ พร้อม วิธีดูแลปัองกัน และ รักษา  ของแต่ละ อาการกัน

 

อาการปวดหัว  มีแบบใดบ้าง 

  1. การปวดหัวที่มากจาก การปวด กล้ามเนื้อ บริเวร ต้นคอ บ่า ไหล่ ซึ่งมีสาเหตุ มาจาก การหดเกร็ง การใช่กล้ามเนื้อ ไม่ถูกต้อง หรือ หนักเกินไป เป็นเวลานาน ต่อเนื่อง  หรือที่เรารู้จักคือ อาการออฟฟิศซินโดรม ซึ่งไม่เกี่ยวข้องใด ๆ กับ ศรีษะ หรือ สมองเลย 

การแก้ไข ป้องกัน การปวดหัวจากการปวดกล้ามเนื้อ (ออฟฟิศซินโดรม)

  • ปรับ พฤติกรรม การใช่ชีวิตให้อยู่ใน อิริยาบถ ที่เหมาะสม และถูกต้อง
  • การเลือกใช่ อุปกรณ์ เครื่องมือ ที่ เหมาะสม เช่น การเปลี่ยนคีร์บอทให้ใหญ่ขึ้น กว้างขึ้น เพื่อสอดคล้องกับ สรีระของผู้พิมพ์
  • การนวด หรือ การกดจุด เพื่อผ่อนคลาย กล้ามเนื้อ และ ทำให้ เลือดไหลเวียน ได้สะดวกขึ้น 
  • การ ฝึก โยคะ หรือ ท่าบริหารร่างกาย เพื่อ ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงและยืดหยุ่นของ กล้านเนื้อ บริเวร คอ บ่า ไหล่ 
  • พักคลาย อิริยาบถ ระหว่างการทำงาน ทุก 90นาที เพื่อ ให้ กล้ามเนื้อ ส่วนที่เกี่ยวข้องได้รับการพัก 

 

 

  1. การปวด บริเวณใบหน้า คือ การปวดบริเวณหน้าผาก โหนกแก้ม และ บริเวณรอบๆ จมูก และ การปวดจะมีมากขึ้น ถ้าก้มหน้า หรือ กด ลงในบริเวณดังกล่าว อาการนี้ มีอาการแทรกซ้อน ร่วมด้วยคือ การคัดจมูกมีน้ำมูกไหล เหมือนจะเป็นหวัด แต่ กลับไม่มีไข้  อาการปวดนี้ คือ การปวดไซนัส เพราะ โพรงไซนัสอักเสบ  ซึ่งเป็นโพรงอยู่บริเวณหน้าพากและแก้มข้างจมูกทั้ง 2   ด้าน  ไม่เกี่ยวกับ ศรีษะแต่อย่างใด 

การแก้ไข อาการปวดหัวจาก ไซนัสอักเสบ 

      • พบแพทย์ เพื่อ รับ รักษา การอักเสบ ที่เกิดขื้นในโพรงไซนัส 
      • ทำการล้างจมูก ด้วยน้ำเกลือเป็นประจำ เพื่อลด เชื้อ ที่เป็นสาเหตุ ซึ่งทำให้เกิดการอักเสบ 
  1. การปวด บริเวณ กราม ร้าว ไปถึงกกหู เป็นการปวด ที่เกิดจาก การอักเสบได้ 2 สาเหตุคือ 
    • การอักเสบของหูชั้นใน  

    การแก้ไข คือ พบแพทย์ เพื่อรับการตรวจ รักษา การติดเชื้อ ภายในหู 

    • การอักเสบของรากฟัน 

การแก้ไข คือ พบทันตเพทย์ เพื่อรับการตรวจ รักษา ฟัน และ ช่องปาก อย่างถูกต้อง 

  1. อาการปวดหัว มึนงง รู้สึกตือ ๆ ร่วมกับ อาการผิดปกติทางสายตา  เช่น เห็น ภาพไม่ชัดเจน หรือเกิดภาพซ้อน หรือ การชา ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย ส่วนมาจะเกิดที่ปลายมือ ปลายเท้า   

การแก้ไข หาก มีเอาการเช่นนี้ เป็นอาการปวดหัวที่ ต้อง

พบแพทย์ โดยด่วน  เพราะ การปวดในลักษณะนี้ เข้าข่าย การปวดหัวซึ่งมีสาเหตุมาจาก อาการทางสมอง เช่น เกิดการตีบตัน ของ เลือดในสมอง  

 

อาการ ปวดหัวข้างเดียว หรือ การปวด ไมเกรน เป็น การปวดหัว  ที่เกิดขึ้นมากที่สุด และ สร้างความทรมาน  รำคาญ และ รบกวน การใช่ชีวิต  ที่สุด ซึ่ง การปวดหัวไมเกรน 

    • แก้ไขที่ง่ายมากๆ เพียงแค่ เพิ่มการทานอาหารที่มีแร่ธาตุ แมกนีเซียม ให้มากขึ้น อาการ ปวดหัว ไมเกรน ก็จะ ดีขึ้น ได้อย่างชัดเจน 

ใคร ปวดหัว ไมเกรน มาร่วมกัน ตรงนี้

การขาด แร่ธาตุ แมคนีเซียม เป็นอีกสาเหตุสำคัญที่ทำให้ เกิด การ ปวดหัว ไมเกรน ขึ้น ได้

แหล่งอาหารที่อุดมไปด้วยแร่ธาตุแมกนีเซียม ได้แก่ ถั่วดำ อัลมอนด์ ถั่วลิสง เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ผักโขม คะน้า อะโวคาโด ข้าวโอ๊ต ข้าวสาลี และดาร์กช็อกโกแลต

หรือจะให้ง่ายต่อการเติมแร่ธาตุ แมคนีเซียม ได้ ในทุก ๆ วัน เราสามารถเลือก อาหารเสริม ที่มี แร่ธาตุ แมคสีเซียม ที่หาซื้อและพกพาได้ง่าย และทางเลือกที่ดีที่สอดคล้องการใช้ชีวิตในรูปแบบปัจจุบันที่ไม่สามารถมีโอกาสเลือกทานอาหารที่ มีแมคนีเซียม ปริมาณ สูงได้  อย่างพอเพียงในทุก ๆ วัน

คำแนะนำในการเลือกอาหารเสริมเพื่อเติมเต็ม แมกนีเซียมและแคลเซียมให้เพียงพอ

  • เลือกรูปแบบของ แมกนีเซียม ที่ร่างกายสามารถดูดซึมได้สูงถึง 80% ขึ้นไป เช่น แมกนีเซียม อะมิโนแอซิค คีเลต ซึ่งเป็นนวัตกรรมการเปลี่ยนแร่ธาตุ ที่เป็นสารอนินทรีย์ที่ร่างกายดูดซึมและย่อยสลายนำไปใช้ได้ยาก 
  • โดยทั่วไปจะดูดซึมและนำไปใช้ได้เพียง 6% เท่านั้น แต่แร่ธาตุที่อยู่ในรูปแบบ อะมิโนแอซิคคีเลต ซึ่งปรับให้แร่ธาตุต่าง ๆ มีขนาดเล็ก และห่อหุ้มเคลือบด้วยโปรตีน (สารอินทรีย์) ที่เล็กมาก อย่างกรดอะมิโน ทำให้ร่างกายชอบที่จะดูดซึมจึงทำให้แมกนีเซียม อะมิโนแอซิค คีเลต ผ่านการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ถึง 80%
  • เลือกแบบที่ไม่ก่อให้เกิดผลข้างเคียง เพราะการทานแร่ธาตุโดยทั่วไปอาจจะทำให้เกิดผลข้างเคียง เช่น การทานแมกนีเซียม ในรูปแบบอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ อะมิโนแอซิค คีเลต อาจจะทำให้ท้องเสีย สาเหตุที่เกิดผลข้างเคียงแบบนั้น เพราะเป็นแร่ธาตุที่ร่างกายดูดซึมได้น้อยทำให้หลงเหลือของเสียที่ร่างกายไม่ดูดซึม หลงเหลือเป็นพิษ หรือร่างกายต้องการกำจัดทิ้ง ทำให้เกิดเป็นอาการข้างเคียง ดังกล่าว
  • แนะนำให้ทาน ทานเป็นประจำในช่วง ก่อนนอนก็จะช่วยให้สมองผ่อนคลาย ลดความวิตกกังวล และส่งผลทำให้เกิดการนอนหลับที่ง่ายขึ้น หลับลึก หลับสนิทมากขึ้น ทำให้รู้สึกสดชื่นกะปรี่กะเปร่าในเช้าวันถัดไป มีพลังมีแรงทำงานได้โดยไม่ต้องพึ่งกาแฟกันเลยค่ะ (ประหยัดไปได้อีกหลายบาทต่อเดือนเลย)

ได้เคล็ดลับไปแล้ว ก็นำไป สังเกต อาการปวดหัว ที่เราเป็น และ เลือกวิธีการ ดูแล รักษา และ ป้องกัน ให้เหมาะสม ที่สุด

 

By admin

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *