โรคฉี่หนู ภัยร้าย ที่มาพร้อมกับน้ำท่วม
เมื่อวันที่ 25 ส.ค. ที่ผ่านมา นายแพทย์ สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า “ขณะนี้ในหลายพื้นที่ ประสบปัญหาน้ำท่วม ประชาขนต้องทำความสะอาดบ้านเรือน หรือต้องแช่น้ำ หรือ ลุยน้ำ เป็นเวลานาน สิ่งที่ต้องระมัดระวัง เป็นพิเศษคือ โรคเลปโตสไปโรสีส หรือ “โรคฉี่หนู” เพราะเชื้อโรคชนิดนี้ จะเข้าทางบาดแผลรอบถลอก รวมถึงผิวหนังที่แช่น้ำเป็นเวลานาน
โดย สถานการณ์ ของโรคนี้ ตั้งแต่ วันที่ 1 ม.ค. 63 – 15 ส.ค. 63 พบผู้ป่วย 805 ราย เสียชีวิต แล้ว 12 ราย ซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร
ไอ้อ่าน ข่าวนี้แล้ว ก็ เป็นห่วง พี่ๆ น้องๆ ที่อยู่ในพื้นที่ ที่กำลังเจอปัญหา ฝนตก น้ำท่วม ซึ่งเจ้าโรคชื่อคุ้นเคย นี้ เป็นโรคที่หลายๆ คน มองข้าม ไม่ระมัดระวังตัว ในขณะที่ เกิดน้ำท่วม ยิ่งเป็น เหตุน้ำท่วมแบบฉุกเฉิน ซึ่งน้ำจะไหลบ่ามาอย่างรวดเร็ว ในเวลานั้น เชื่อได้ว่า คงไม่ใครห่วงเรื่องการติดเชื้อ หรือการป้องกัน ระวังโรคฉี่หนู มากกว่าห่วงความปลอดภัยของ คนในครอบครัว และ ทรัพย์สิน พีช สวน แน่นอน และ อีกประเด็นคือ ในพื้นที่ ๆ มีน้ำท่วมเป็นเวลานาน จนเกิดความเคยชิน กับน้ำที่ท่วมขัน การที่เราต้องใช่ชีวิตกับน้ำท่วมขังเป็นเวลานานๆ ทำให้ ความระมัดระวังตัว ในการป้องกันการสัมผัสน้ำลดน้อย ลง จนทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่ายๆ และ เชื้อนี้ เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ มีความอึดอดทน สามารถ มีชีวิต อยู่ในน้ำได้เป็นเวลานานนับเดือน และ เข้าสู่ร่ายกายได้ ทางผิวหนัง ผ่านบาดแผล รอยข่วน หรือแค่ผิวที่เปือยจากการแช่น้ำเป็นเวลานาน หรือแม้น จะเป็นแผลเพียงเล็กน้อย เชื้อนี้ ก็ แทรงตัวเข้ามาจู่โจมเราได้ หลังจาก รับเชื้อแล้ว โรคนี้จะมีระยะฟักตัว ได้นาน 1-2 สัปดาห์ ด้วยการฟักตัวที่ยาวนานทำให้ ผู้ป่วย เกิดความชะล่าใจ ไม่ไปพบแพทย์เพราะคิดว่าไม่ใช่โรคฉี่หนู กว่าจะไปพบแพทย์ก็อาจจะ มีอาการรุนแรง หรือ บางราย ก็ถึงขั้นเสียชีวิตได้
ถึง เจ้าเชื้อจากฉี่หนูนี้จะน่ากลัวอย่างไร ทีมงาน สุขภาพดีดี ก๊มีวิธีรับมือมาฝาก เพื่อความปลอดภัยของทุกคน
เช็คอาการ ของโรคฉี่หนู หากเราต้องไปสัมผัสกับน้ำภายใน 1-2 สัปดาห์ ให้สังเกตว่ามีอาการเหล่านี้หรือไม่
- มีไข้นสูงอย่างอย่างเฉียบพลัน (อุณหภูมิเกินกว่า 37.5 ขึ้นไป)
- ปวดหัวรุนแรง
- ปวดเมื่อยตามตัว โดยเฉพาะ ที่น่อง โคนขา จะมีการปวดมาก แบบทรมานสุดๆ
- คลื่นไส้อาเจียน
- ท้องเสีย
- ตาแดง
หากมีอาการ โรคฉี่หนู ควรไปพบแพทย์โดยด่วนที่สุด
การดูแลตัวเอง เพื่อ ป้องกัน การติดเชื้อ
- หลีกเลี่ยงการ สัมผัสน้ำจากแหล่งน้ำที่มีความเสี่ยง ต่อ การติดเชื้อ โรคฉี่หนู
- รักษา ผิวหนังร่างกาย ไม่ให้เกิดแผล หรือ เพียงแค่รอยถลอก
- หากมีความจำเป็นต้องเดินลุยน้ำ ควรใส่รองเท้าบูทเพื่อป้องกัน การสัมผัสกับน้ำ
- กำจัด หนู ตามแหล่งที่อยู่อาศัย
มาจึงตรงนี้ ผู้เขียน เองก็ ยัง คิดย้อนแย้ง แบบ เขียนเอง ก็ เถียงกับ ตัวเอง ใน รื่องของ การป้องกัน การติดเชื้อ ซึ่ง ในชีวิตประจำวัน หาก บ้านเรา ตกอยู่ในสถานการณ์น้ำท่วม ถึงจะรู้ถึงความน่ากลัวของโรค และ รู้ว่าต้องป้องกัน แต่เราก็คงไม่สามารถ ป้องกันตัวเองได้ 100% ในทุกๆ วัน ดังนั้น หากเราไม่สามารถป้องกันจากภายนอกได้ 100% เราก็ ควรจะเตรียมเสริมภูมิคุ้มกันเพื่อป้องกันตัวเองจากภายใน ซึ่งไม่เพียงจะป้องกัน ตัวจาเชื้อ โรคฉี่หนูได้เท่านั้น แต่ หากเรามีภูมิคุ้มกันที่แข็งแรง ไม่ว่าเราจะเจอกับ การแพร่เชื้อ ของโรคใด จะเป็นโรคเก่าที่ระบาดใหม่ หรือ โรคใหม่ที่ พึงเกิดขึ้น ในอนาคต เราก็ พร้อมจะ สู้ กับ ทุกๆ โรค ได้แน่นอน
หลัก 6 ประการ สร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง
- นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ 6-8 ชั่วโมง
- ลดละความเครียด
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- หลีกเลี่ยงพฤติกรรม ที่ทำให้ ทำลายภูมิกัน เช่น การดื่มเครื่อดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่
- หมั่นตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อ รู้ก่อน รักษา ได้ทัน
- การทานอาหารที่ช่วย เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน เช่น วิตามินซี หรือ พืชผัก สมุนไพรพื้นบ้านที่ผ่านการวิจัย ยืนยันรับรองผล เกี่ยวกับ สร้างภุมิคุ้มกัน ป้องกันโรคได้ เช่น สมุนไพร พลูคาว
สมุนไพรพลูคาว
สมุนไพรพลูคาวคืออะไร “ผักพลูคาว” หรือ ผักคาวตอง ผักก้านตอง เป็นสมุนไพรพื้นบ้านของไทยและประเทศในเอเชียปลูกมากทางภาคเหนือของประเทศไทย เป็นผักพื้นบ้านที่มีการบริโภคมาหลายร้อยปี ใช้กินแกล้มกับลาบ ลู่ ก้อย พลูคาวมีใบเป็นรูปหัวใจ ตระกูลเดียวกับชะพลูเป็นพืชล้มลุก ปลูกมากทางภาคเหนือของประเทศไทย เป็นผักพื้นบ้านที่มีการบริโภคมาหลายร้อยปี จะใช้กินแกล้มกับลาบ ลู่ ก้อย พลูคาวชอบอากาศเย็นชื้นอุณหภูมิ 5-25 องศาเซลเซียส ปัจจุบันมีการขยายการปลูกพลูคาวที่จังหวัดเชียงราย
สรรพคุณของ พลูคาว กับ การป้องกันเชื้อโรค เสริมภูมิคุ้มกัน
- ป้องกันไวรัสเข้าเซลล์
- ลดการแบ่งตัวของไวรัส
- เพิ่มภูมิคุ้มกันไวรัส
- ลดการอักเสบที่ปอด จากการติดเชื้อไวรัส
จากสรรพคุณ ของพลูคาว ที่ช่วยป้องกันเชื้อโรค และ เพิ่มพลังให้ภูมิคุ้นของเราแข็งแรง ดังนั้นการทานสมุนไพร พลูคาว น่าจะเป็น สิ่งที่ใช่ ในการ เลือกทาน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันได้ เป็นอย่างดี
ทานพลูคาวควรเลือกทาน ที่เป็น สารสกัด ดีกว่า การทน แบบ สด
มีงานวัจัย พบว่า การทานพลูคาว แบบสด ในปริมาณที่มาเกินไป จะทำให้ ได้รับ สารออกซาเลต าทานในปริมาณสูงมีรายงานเหมือนกันว่าทำให้เกิดนิ่วในไตแล้วก็ผู้ป่วยบางรายก็มีรายงานว่าทำให้ไตวายเฉียบพลัน
การเลือกทานพลูคาว เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกัน ต้านเชื้อโรค
- เลือก ผลิตภัณฑ์ ที่มี สารสกัดจาก พลูคาว ที่ผ่านการสกัด เอามาเฉพาะสาระสำคัญ ไม่ใช่การ นำ ใบพลูคาวอบแห้งมาบรรจุแคปซูลเพราะจะทำให้มีโอกาสเสี่ยงในการรับสาร สารเควอซิทิน ที่เกิน 1 กรัม/วัน เพราะหากร่างกายได้รับสารเควอซิทินมากเกินไป อาจทำให้ไตเสียหายได้
- เลือก ผลิตภัณฑ์ มี สารสกัดจาก พลูคาว ที่มีความเข้มข้นของ สารสกัดจากพลูคาวไม่น้อยกว่า 2,400 มก.ต่อแคปซูล เพื่อให้เพียงพอต่อการ ดูแลสุขภาพ เสริมภูมิคุ้มกัน และ ยับยั้งความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัส
- เลือก ผลิตภัณฑ์ มี สารสกัดจาก พลูคาว ที่มี ส่วนประกอบ ของ สมุนไพร อื่นๆ ที่ช่วย ส่งเสริมการทำงานของพลูคาว ในการ ดูแลสุขภาพ ให้พลูคาว ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เช่น
- เบต้า – กลูแคนจากยีสด์ = ช่วยให้เม็ดเลือดขาวแข็งแรง สร้างภูมิคุ้มกันให้ประสิทธิภาพสูงสุด
- เห็ดหลินจือ=ด้านการอักเสบ ปรับการทำงานระดับเซลล์ ให้ทำงานได้อย่างสมบูรณ์
- โสม =บำรุงหัวใจ และ หลอดเลือดให้แข็งแรง
- เจียวกู้หลาน= ลดระดับน้ำตาลในเลือด ปรับน้ำตาลเป็นพลังงาน ทำให้ไม่อ่อนเพลีย
- วิตามินซี =เสริมภูมิคุ้มกันของร่างกาย ให้มีความทนทานแข็งแรง และ ว่องไวต่อการกำจัดเชื้อโรค
- เลือกผลิตภัณฑ์ มี สารสกัดจาก พลูคาว ที่ได้รับ มาตรฐานการผลิต HACCP , GMP , Natural Product และ อนุสิทธิบัตร จาก กรมทรัพย์สินทางปัญญา
และ ที่สำคัญคือ ควรเลือกผลิตภัณฑ์ที่ มีเลขที่อย ชัดเจน ที่ชื่อผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่ายที่ได้รับการยอมรับจาก เภสัชกร ร้านขายยา มานานกว่า 16ปี จึงจะมั่นใจได้ในคุณภาพ ได้ 100 %
I don’t think the title of your article matches the content lol. Just kidding, mainly because I had some doubts after reading the article. https://accounts.binance.com/cs/register?ref=S5H7X3LP